การ RIGHT JOIN สองตารางใน MySql

การ join เป็นการนำข้อมูลมากกว่า 2 ตารางขึ้นไป มาเชื่อมโยงกัน โดยตารางเหล่านั้นต้องมีจุดเชื่อมต่อ หรือ key เหมือนกันด้วย ไม่งั้นจะไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้
RIGHT JOIN จะทำการอ้างอิงตารางที่2 เป็นสำคัญ ถ้าตารางที่ 1 ไม่มีข้อมูล ตารางที่ 2 ก็ยังถูกสนใจและนำมาแสดงผล
ตารางตัวอย่าง
Table  :  user
id_usernameage
0001Tana  Ton19
0002Bank  Wong25
0003Jay  Long15
0004Oom  Wan14

Table  :  salary
dateid_usersalarycommission
10/11/56000115,5003,000
12/12/56000115,6001.500
20/12/56000210,0004,000
10/12/56000312,0003,500
10/01/56000310,0002,000
10/02/5600055,000300

วิธีการเขียน
SELECT user.*,salary.* FROM user
RIGHT JOIN salary  ON user.id_user= salary .id_user
หรือ
SELECT user.*,salary.* FROM user
RIGHT JOIN salary  ON user.id_user= salary .id_user
WHERE salary .id_user  = '0005'
ตัวอย่างการเขียนที่นำไปใช้จริง
<?php
 $SQL="  SELECT user.*,salary.* FROM user
              RIGHT JOIN salary  ON user.id_user= salary .id_user
  ";
 $QUERY= mysql_query($SQL) or die ("Error Query [".$SQL."]");    
?>
 <table width="100%" >
   <tr>
     <td bgcolor="#FFFFFF" width="50" align="center">    Id     </td>
     <td bgcolor="#FFFFFF"  width="573" align="center">      Name      </td>
     <td bgcolor="#FFFFFF" width="100" align="center">     Salary    </td>
   </tr>

 <?php while($rs=mysql_fetch_array($QUERY))  {      ?>

   <tr>
     <td  align="center">     <?=$rs['id_user'];  ?>      </td>
     <td  align="center">   <?=$rs['name'];?>  </td>
     <td  align="center">   <?=$rs['age'];?>         </td>
     <td  align="center">   <?=$rs['salary'];?>         </td>
     <td  align="center">   <?=$rs['commission'];?>         </td>
   </tr>
   <?  } ?>
 </table>    
ผลลัพธ์ตัวอย่าง
nameagedateid_usersalarycommission
NULLNULL10/02/5600055,000300

การ INNER JOIN สองตารางใน MySql

การ join เป็นการนำข้อมูลมากกว่า 2 ตารางขึ้นไป มาเชื่อมโยงกัน โดยตารางเหล่านั้นต้องมีจุดเชื่อมต่อ หรือ key เหมือนกันด้วย ไม่งั้นจะไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้
INNER JOIN เลือกเฉพาะข้อมูลที่มี key ตรงกันเท่านั้นมาแสดง
ตารางตัวอย่าง
Table : TABLE_USER
idName
1Tomsun
2Songkarn
3Joney
4Mon
5Boy

Table : TABLE_SALARY
idSalary
146,000
23,500
52,180
6180
74,320

วิธีการเขียน INNER JOIN
SELECT *  FROM
TABLE_USER INNER JOIN TABLE_SALARY
ON  TABLE_USER.id = TABLE_SALARY.id

ตัวอย่างการเขียนที่นำไปใช้จริง
<?php
    include "connect.php";
 $SQL="  SELECT *  FROM
          TABLE_USER INNER JOIN TABLE_SALARY
           ON  TABLE_USER.id = TABLE_SALARY.id  ";
 $QUERY= mysql_query($SQL) or die ("Error Query [".$SQL."]");    
?>
 <table width="100%" >
   <tr>
     <td bgcolor="#FFFFFF" width="50" align="center">    Id     </td>
     <td bgcolor="#FFFFFF"  width="573" align="center">      Name      </td>
     <td bgcolor="#FFFFFF" width="100" align="center">     Salary    </td>
   </tr>

 <?php while($rs=mysql_fetch_array($QUERY))  {      ?>

   <tr>
     <td  align="center">     <?=$rs['id'];  ?>      </td>
     <td  align="center">   <?=$rs['Name'];?>  </td>
     <td  align="center">   <?=$rs['Salary'];?>         </td>
   </tr>
   <?  } ?>
 </table>    
ผลลัพธ์ตัวอย่าง
idNameSalary
1Tomsun46,000
2Songkarn3,500
5Boy3,500
จะเห็นได้ว่า ข้อมูลที่มี id เหมือนกันทั้งสองตาราง จะถูกแสดงข้อมูลออกมา ส่วนid ที่ไม่เหมือนกันทั้งสองตาราง จะไม่ถูกนำออกมาแสดงค่า

การ LEFT JOIN สองตารางใน MySql

การ join เป็นการนำข้อมูลมากกว่า 2 ตารางขึ้นไป มาเชื่อมโยงกัน โดยตารางเหล่านั้นต้องมีจุดเชื่อมต่อ หรือ key เหมือนกันด้วย ไม่งั้นจะไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้
LEFT JOIN จะทำการอ้างอิงตารางแรกก่อนเป็นสำคัญ ถ้าตารางแรกไม่มีข้อมูล จะไม่สนใจตารางที่ 2  สนใจแต่ข้อมูลตารางแรกเท่านั้น
ตารางตัวอย่าง
Table  :  user
id_usernameage
0001Tana  Ton19
0002Bank  Wong25
0003Jay  Long15
0004Oom  Wan14

Table  :  salary
dateid_usersalarycommission
10/11/56000115,5003,000
12/12/56000115,6001.500
20/12/56000210,0004,000
10/12/56000312,0003,500
10/01/56000310,0002,000
10/02/5600055,000300

วิธีการเขียน
SELECT user.*,salary.* FROM user
LEFT JOIN salary  ON user.id_user= salary .id_user

ตัวอย่างการเขียนที่นำไปใช้จริง
<?php
 $SQL="  SELECT user.*,salary.* FROM user
              LEFT JOIN salary  ON user.id_user= salary .id_user
  ";
 $QUERY= mysql_query($SQL) or die ("Error Query [".$SQL."]");    
?>
 <table width="100%" >
   <tr>
     <td bgcolor="#FFFFFF" width="50" align="center">    Id     </td>
     <td bgcolor="#FFFFFF"  width="573" align="center">      Name      </td>
     <td bgcolor="#FFFFFF" width="100" align="center">     Salary    </td>
   </tr>

 <?php while($rs=mysql_fetch_array($QUERY))  {      ?>

   <tr>
     <td  align="center">     <?=$rs['id_user'];  ?>      </td>
     <td  align="center">   <?=$rs['name'];?>  </td>
     <td  align="center">   <?=$rs['age'];?>         </td>
     <td  align="center">   <?=$rs['salary'];?>         </td>
     <td  align="center">   <?=$rs['commission'];?>         </td>
   </tr>
   <?  } ?>
 </table>    
ผลลัพธ์ตัวอย่าง
id_usernameagesalarycommission
0001Tana  Ton1915,5003,000
0001Tana  Ton1915,6001.500
0002Bank  Wong2510,0004,000
0003Jay  Long1512,0003,500
0003Jay  Long1510,0002,000

การ Update แก้ไขข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน MySql

การ UPDATE เป็นการอัพเดทข้อมูลที่มีอยู่แล้ว หรือจะเรียกว่าแก้ไขข้อมูลเดิมก็ได้ครับ ซึ่งการอัพเดทจำเป็นต้องมี id หรือรหัสของฟิวส์ที่จะอัพเดท เพื่อให้ทราบว่าเราจะอัพเดทฐานข้อมูลของแถวไหน
โดยมีวิธีการเขียนดังนี้ั
วิธีการเขียนตัวอย่างการเขียน
ข้อมูล="1";
$sql="update  ชื่อตาราง  SET
            ฟิลด์1 ='".$_POST['ข้อมูล1']."',
            ฟิลด์2 ='".$_POST['ข้อมูล2']."',
            ฟิลด์3 ='".$_POST['ข้อมูล3']."',
            ฟิลด์4 ='".$_POST['ข้อมูล4']."',
            ฟิลด์5 ='".$_POST['ข้อมูล5']."',
            ฟิลด์6 ='".$_POST['ข้อมูล6']."'

            where  ฟิลด์ id =' ข้อมูล ' ";
mysql_db_query($db_name , $sql);
$data="1";
$sql="update  INTO  user   SET
            db_1 ='".$_POST['data1']."',
            db_2 ='".$_POST['data2']."',
            db_3 ='".$_POST['data3']."',
            db_4 ='".$_POST['data4']."',
            db_5 ='".$_POST['data5']."',
            db_6 ='".$_POST['data6']."'
            where  db_id='$data' ";
mysql_db_query($db_name , $sql);


การ INSERT เพิ่มข้อมูลเข้าฐานข้อมูล MySql

การ INSERT เป็นการเพิ่มข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูล Mysql ซึ่งข้อมูลที่ส่งค่าไปจะบันทึกลงฟิลด์ที่อยู่ในตาราง ซึ่งถูกกำหนดไว้
โดยมีวิธีการเขียนดังนี้ั
วิธีการเขียนตัวอย่างการเขียน
$sql="INSERT INTO  ชื่อตาราง  SET
            ฟิลด์1 ='".$_POST['ข้อมูล1']."',
            ฟิลด์2 ='".$_POST['ข้อมูล2']."',
            ฟิลด์3 ='".$_POST['ข้อมูล3']."',
            ฟิลด์4 ='".$_POST['ข้อมูล4']."',
            ฟิลด์5 ='".$_POST['ข้อมูล5']."',
            ฟิลด์6 ='".$_POST['ข้อมูล6']."'
            ";
mysql_db_query($db_name , $sql);
$sql="INSERT INTO  user   SET
            db_1 ='".$_POST['data1']."',
            db_2 ='".$_POST['data2']."',
            db_3 ='".$_POST['data3']."',
            db_4 ='".$_POST['data4']."',
            db_5 ='".$_POST['data5']."',
            db_6 ='".$_POST['data6']."'
            ";
mysql_db_query($db_name , $sql);

การ Delete ลบข้อมูลออกจากฐานข้อมูล MySql

การ DELETE เป็นการลบข้อมูลที่มีอยู่แล้ว ออกจากฐานข้อมูล ซึ่งการลบข้อมูลใช้ฟังก์ชัน delete  ซึ่งถือเป็นหนึ่งในฟังก์ชันที่สำคัญมาก สำหรับการออกแบบระบบ
โดยมีวิธีการเขียนดังนี้ั
1.ลบข้อมูลทั้งตาราง
วิธีการเขียนตัวอย่างการเขียน
$sql="delete   from  ชื่อตาราง  ";
$query=mysql_query($sql) or die ("Error [".$sql."] ");
mysql_db_query($db_name , $sql);
$sql="delete   from  table1";
$query=mysql_query($sql) or die ("Error [".$sql."] ");
mysql_db_query($db_name , $sql);
2.ลบข้อมูลเฉพาะบางแถวเท่านั้น
วิธีการเขียนตัวอย่างการเขียน
ข้อมูล="1";
$sql="delete from  ชื่อตาราง  where ชื่อฟิลด์='ข้อมูล' ";
$query=mysql_query($sql) or die ("Error [".$sql."] ");
mysql_db_query($db_name , $sql);
$data="1";
$sql="delete from  ชื่อตาราง  where id='$data' ";
$query=mysql_query($sql) or die ("Error [".$sql."] ");
mysql_db_query($db_name , $sql);

การ Select Query ดึงข้อมูลออกมาแสดง MySql

การ Select Query หรือ การดึงข้อมูลออกมาแสดง  ซึ่งเป็นพื้นฐานของ mysql ในการ Select ข้อมูลที่อยู่ในตารางออกมาแสดงออกทางหน้าจอ
มีวิธีการเขียนดังนี้
แบบที่1 แสดงข้อมูลทุกแถวในฐานข้อมูล
วิธีการเขียนตัวอย่าง
$query = "SELECT * FROM  ชื่อตาราง  ";
if ($result = mysql_query($query)) {
     while ($row = mysql_fetch_array($result)) {

           $row['ชื่อฟิลด์'];  
      }
}
$query = "SELECT * FROM  user";
if ($result = mysql_query($query)) {
     while ($row = mysql_fetch_array($result)) {

           $row['username'];  
      }
}
แบบที่2 แสดงข้อมูลทุกแถวในฐานข้อมูล
วิธีการเขียนตัวอย่าง
$sql = "SELECT * FROM  ชื่อตาราง  ";
$query=mysql_query($sql) or die ("Error[".$sql."]");

while ($rs = mysql_fetch_array($query)) {

           $rs['ชื่อฟิลด์'];  
 }
$sql = "SELECT * FROM  user";
$query=mysql_query($sql) or die ("Error[".$sql."]");

while ($rs = mysql_fetch_array($query)) {

           $rs['username'];  
 }
แบบที่3 แสดงข้อมูลเพียง 1 แถวในฐานข้อมูล
วิธีการเขียนตัวอย่าง
$sql = "SELECT * FROM  ชื่อตาราง  ";
$query=mysql_query($sql) or die ("Error[".$sql."]");

$rs = mysql_fetch_array($query) ;

           $rs['ชื่อฟิลด์'];  
$sql = "SELECT * FROM  user";
$query = mysql_query($sql) or die ("Error[".$sql."]");

$rs = mysql_fetch_array($query) ;

           $rs['username']; 

แนะนำภาษา HTML เบื้องต้น

HTML เป็นภาษาแรกของการของการสร้างเว็บไซต์เลยก็ว่าได้ เพราะเรียนรู้ได้ง่าย เขียนได้ง่าย จึงเป็นภาษาอันดับต้นๆที่นักโปรแกรมเมอร์ฝึกหัดหรือบุคคลทั่วไปนิยมเขียนขึ้นมา
ต้นกำเนิดของภาษา HTML ค.ศ. 1961 อินเตอร์เน็ตได้เกิดและเติบโตขึ้น พร้อมกับภาษาคอมพิวเตอร์และโปรโตคอล (Protocol) จำนวนมาก เพื่อรองรับกับ การเติบโตอย่างรวดเร็วของอินเตอร์เน็ต หนึ่งในภาษาคอมพิวเตอร์และโปรโตคอลนั้นคือ ภาษา HTML และ TCP/IP (Transmission Control Protocol/ Internet Protocol) ทั้งนี้เพราะ World Wide Web แม้จะเป็นเพียงส่วนหนึ่งของอินเตอร์เน็ต แต่ได้รับความนิยม อย่างสูง และรวดเร็ว โปรโตคอล HTTP (ซึ่งเป็นส่วนย่อยของโปรโตคอล TCP/IP) จึงได้รับการพัฒนาเพื่อสนับสนุนภาษา HTML ซึ่ง ใช้ในการจัดเก็บเอกสารบน World Wide Web
                HTML     เป็นตัวย่อมาจาก   Hypertext Markup Language     เป็นภาษาหลักที่ใช้ในการแสดงผลบนเว็บ บราวเซอร์ในอินเตอร์   โดยสามารถนำเสนอข้อมูลตัวอักษร รวมทั้งเชื่อมต่อเพื่อ แสดงภาพ , เสียง และไฟล์ในรูปแบบอื่นๆ
ภาษา HTML จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
                1. ส่วนของคำสั่ง (tag) เป็นส่วนที่กำหนดรูปแบบของข้อความที่แสดง ซึ่งเราเรียกว่าTag โดยจะอยู่ในเครื่องหมาย < ... >  เช่น <div>....</div>   ,  <p>.....</p>
                2. ส่วนของบทความทั่วๆไป เป็นส่วนของข้อความที่เราต้องการแสดงผล เช่น ข้อความ "ทดสอบ"
ตัวอย่างการใช้งานภาษา HTML
<html>
    <head>
        <title> สร้างเว็บไซต์เริ่มต้นที่นี้ </title>
    </head>

    <body>
             การสร้างเว็บไซต์ไม่ยากอย่างที่คิด
             <p>พัฒนาเว็บโดย</p>
             <b>การใช้โปรแกรม</b>
    </body>
</html>

CSS คืออะไร

CSS (Cascading Style Sheet) หรือเรียกกันว่า สไตล์ชีต ซึ่งถือเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ในการออกแบบ หรือสำหรับจัดรูปแบบการแสดงเนื้อหาภายในเว็บเพจ ได้แก่ โครงร่างเว็บไซต์ การออกแบบบล็อคใส่ข้อความ รูปภาพ ตัวอักษร บุลเล็ต ใส่สีกรอบ สีตาราง เป็นต้น  ช่วยให้สามารถจัดรูปแบบของเว็บไซต์ได้สวยขึ้น และสามารถนำไปใช้ในแต่ลเพจได้เหมือนกัน โดยไม่ต้องมาสร้างทีละเพจ สะดวกมากต่อการใช้งาน
ประเภทของ CSS 
1.Class Style เป็นสไตล์ที่ใช้กำหนดคุณสมบัติของออบเจ็คทีละตำแหน่ง  โดยจะไม่มีผลต่อคุณสมบัติของออบเจ็คอื่นๆ บนเว็บเพจ การกำหนดสไตล์ชีตประเภทนี้จึงต้องกำหนดทีละตำแหน่ง
2.Tag Style ถือเป็นสไตล์ที่ใช้กำหนดไว้กับแท็ก จะมีผลในทุกออบเจ็คซึ่งอยู่ในแท็กนั้นทั้งหมด
3.Advanced สไตล์ที่นอกเหนือจากรูปแบบข้างต้น นั้นคือสามารถกำหนดคุณสมบัติของออบเจ็คทีละตำแหน่ง คล้ายๆกับ Class Style แต่อาจจะมีวิธีการใช้คำสั่งคนละแบบ

ตัวอย่างเว็บที่เขียนด้วย HTML 5

พบกับตัวอย่างเว็บไซต์ที่เขียนด้วย HTML5 ซึ่งมีความยอดเยี่ยม ทั้งเว็บไซต์ด้านกราฟฟิก เว็บไซต์เกมที่สร้างจากHTML5 เว็บสร้างสรรค์งานแอพลิเคชัน ซึ่งได้แก่
เว็บไซต์ The Wilderness Downtown ออกแบบโดย HTML5
http://www.thewildernessdowntown.com/
               The Wilderness Downtown เว็บไซต์ที่มี  Interactive  Multimedia Video  ยอดเยี่ยมโดยใช้  HTML5
มิวสิควิดีโอจัดทำโดยChris Milk ใช้เพลงจากอัลบั้ม Arcade Fire
เว็บไซต์ The  Agent008 ออกแบบโดย HTML5http://agent8ball.com/
              The  Agent008  เว็บไซต์เกมที่สร้างโดย Pixel  Labs  ใช้ HTML 5   ในการพัฒนาผู้ใช้สามารถสนุกกับ    การเล่นเกมส์สนุกเกอร์ที่อยู่บนหน้า จอคอมพิวเตอร์ โดยได้จำเป็นต้องใช้  Flash Player
เว็บไซต์The Lost World’s Fair site ออกแบบโดย HTML5http://lostworldsfairs.com/
              The Lost World’s Fair site เว็บไซต์ที่พัฒนาโดยใช้ HTML5 เพื่อจำลองสถานที่ต่างๆบนโลกขึ้นบนเว็บไซต์เสมือนผู้ใช้งานเดินทางไปยังสถานที่นั้นๆ อย่างคร่าวๆ  

เว็บไซต์ Ben the Bodyguard  ออกแบบโดย HTML5http://benthebodyguard.com/index2.php
              Ben the Bodyguard เว็บไซต์เพื่อโปรโมท Nerd Communications iPhone Security App แอพริเคชั่นบน iPhone   ที่ใช้เพื่อป้องกันข้อมูลบนโทรศัพท์มือถือของผู้ใช้งาน
เว็บไซต์ 20ThingsILearned ออกแบบโดย HTML5http://www.20thingsilearned.com/en-US
             20ThingsILearned ถูกพัฒนาโดยทีมงาน Google Chrome ด้วย HTML5 เพื่ออธิบายวิธีการทำงานของเว็บไซต์ โดยมีลักษณะคล้าย eBook ที่สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้งานได้
เว็บไซต์ This Shell  ออกแบบโดย HTML5http://www.thisshell.com/
          This Shell เว็บไซต์ที่สร้างโดยใช้ HTML5โดย Legwork Studios เพื่อโปรโมทอัลบั้มเพลงของ  Parts เว็บไซต์ได้นำเสนอรูปแบบใหม่ให้กับวิดีโ  โดยการแบ่งวิดีโอออก เป็นส่วนๆ และผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดเพลงได้ฟรี
เว็บไซต์ AX VISUAL DESIGN STUDIO ออกแบบโดย HTML5http://axvisual.com/
              AX VISUAL DESIGN STUDIO เว็บสร้างสรรค์งานแอพลิเคชัน การพัฒนาบริการโทรศัพท์มือถือและภาพการบริการขององค์กรให้คำปรึกษา